29 March 2022
7 เรื่องเข้าใจผิด เกี่ยวกับอิฐมวลเบา
ในปัจจุบันถึงแม้ว่าจะมีการนำอิฐมวลเบามาใช้กันมากแล้วก็ตามก็ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับอิฐมวลเบาอยู่ เราจึงรวบรวมสิ่งที่คนยังเข้าใจผิดเกี่ยวกับอิฐมวลเบากันอยู่มา 7 ข้อให้ดูกันนะครับ
เรื่องที่1
อิฐมวลเบาฉาบแล้วแตกร้าวง่าย
ความจริง
ต้องไม่ฉาบหนาเกิน 1.5 ซม.คลิกดูวิธีการฉาบอิฐมวลเบาคิวคอนที่ >> shorturl.at/amrN6 หน้า 1 และ 20
เรื่องที่2
อิฐมวลเบามีน้ำหนักเบาเลยไม่แข็งแรง และรับแรงกระแทกได้น้อย
ความจริง
อิฐมวลเบาคิวคอนมีความแข็งแรงกว่าอิฐมอญ
ดูการทดสอบระหว่างผนังอิฐมวลเบา vs อิฐมอญ ได้ที่ >> shorturl.at/nCGKU
อิฐมวลเบาสามารถรับน้ำหนักได้ 30-50 กก./ตร.ซม. (30-50 ksc) ดังนั้นเมื่อนำมาก่อเป็นผนังจะมีความแข็งแรงเทียบเท่ากับการก่ออิฐฉาบปูนหนา 10 ซม.
เรื่องที่3
อิฐมวลเบาข้างในพรุนไม่สามารถเจาะเพื่อแขวนของหนักๆ ได้
ความจริง
ผนังอิฐมวลเบาสามารถแขวนของหนักๆ ได้โดยเลือกใช้
พุกและดอกสว่านเบอร์เดียวกัน
ดูวิธีการเจาะแขวนที่ถูกต้องได้ที่ >> shorturl.at/fksB3
เรื่องที่4
อิฐมวลเบาไม่ควรใช้ก่อผนังห้องน้ำเพราะน้ำซึมง่าย
ความจริง
ปัญหาส่วนใหญ่ของความชื้นในผนังห้องน้ำเกิดจากปัจจัยอื่นๆ
สามารถแก้ปัญหาโดยการตรวจสอบรูและช่องต่างๆและใช้ปูนก่ออุดให้ทั่วผนัง บริเวณที่อาจมีน้ำขังให้ทำคันคอนกรีตเสริมเหล็ก (curb) ยกระดับขึ้นมาประมาณ 10 ซม.ก่อนแล้วค่อยก่อผนัง
และทาน้ำยากันซึม บนผนังบริเวณที่สัมผัสกับน้ำด้วย
ดูคลิปวิธีการทำได้ที่ >> shorturl.at/bexGI
เรื่องที่5
อิฐมวลเบาไม่กันความร้อนและกันเสียง
ความจริง
รูพรุนในอิฐมวลเบาทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อนและเสียง
อิฐมวลเบาคิวคอน ความหนา 7.5 ซม. รวมฉาบ กันเสียงได้ 37dB (ผลทดสอบจาก ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
อิฐมวลเบาคิวคอน ความหนา 10 ซม. รวมฉาบ กันเสียงได้ 43dB (ผลทดสอบจาก Acoustics Labboratory, National University, SG)
เรื่องที่6
อิฐมวลเบาต้องใช้วิธีการก่อเฉพาะ
ความจริง
การก่อผนังอิฐมวลเบามีความรวดเร็วกว่าอิฐมอญ 3 เท่า
เนื่องจากมีขนาดใหญ่กว่า .
เรื่องที่7
การก่อด้วยผนังอิฐมวลเบามีราคาแพง
ความจริง
ต้นทุนโดยรวมถูกกว่าอิฐมอญ ในเรื่อง
1) ความรวดเร็วในการทำงาน
2) ประหยัดเสา คาน เอ็นคสล.
เป็นยังไงบ้างครับกับเรื่องเข้าใจผิดเกี่ยวกับอิฐมวลเบามีข้อไหนที่เข้าใจผิดกันบ้างไหมครับ ในการเลือกวัสดุก่อสร้างถือเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นเราควรที่จะศึกษาวัสดุต่างๆ อย่างถ่องแท้ ไม่ควรตัดสินจากข่าวลือหรือความรู้สึกนะครับ
เรื่องที่1
อิฐมวลเบาฉาบแล้วแตกร้าวง่าย
ความจริง
ต้องไม่ฉาบหนาเกิน 1.5 ซม.คลิกดูวิธีการฉาบอิฐมวลเบาคิวคอนที่ >> shorturl.at/amrN6 หน้า 1 และ 20
เรื่องที่2
อิฐมวลเบามีน้ำหนักเบาเลยไม่แข็งแรง และรับแรงกระแทกได้น้อย
ความจริง
อิฐมวลเบาคิวคอนมีความแข็งแรงกว่าอิฐมอญ
ดูการทดสอบระหว่างผนังอิฐมวลเบา vs อิฐมอญ ได้ที่ >> shorturl.at/nCGKU
อิฐมวลเบาสามารถรับน้ำหนักได้ 30-50 กก./ตร.ซม. (30-50 ksc) ดังนั้นเมื่อนำมาก่อเป็นผนังจะมีความแข็งแรงเทียบเท่ากับการก่ออิฐฉาบปูนหนา 10 ซม.
เรื่องที่3
อิฐมวลเบาข้างในพรุนไม่สามารถเจาะเพื่อแขวนของหนักๆ ได้
ความจริง
ผนังอิฐมวลเบาสามารถแขวนของหนักๆ ได้โดยเลือกใช้
พุกและดอกสว่านเบอร์เดียวกัน
ดูวิธีการเจาะแขวนที่ถูกต้องได้ที่ >> shorturl.at/fksB3
เรื่องที่4
อิฐมวลเบาไม่ควรใช้ก่อผนังห้องน้ำเพราะน้ำซึมง่าย
ความจริง
ปัญหาส่วนใหญ่ของความชื้นในผนังห้องน้ำเกิดจากปัจจัยอื่นๆ
สามารถแก้ปัญหาโดยการตรวจสอบรูและช่องต่างๆและใช้ปูนก่ออุดให้ทั่วผนัง บริเวณที่อาจมีน้ำขังให้ทำคันคอนกรีตเสริมเหล็ก (curb) ยกระดับขึ้นมาประมาณ 10 ซม.ก่อนแล้วค่อยก่อผนัง
และทาน้ำยากันซึม บนผนังบริเวณที่สัมผัสกับน้ำด้วย
ดูคลิปวิธีการทำได้ที่ >> shorturl.at/bexGI
เรื่องที่5
อิฐมวลเบาไม่กันความร้อนและกันเสียง
ความจริง
รูพรุนในอิฐมวลเบาทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อนและเสียง
อิฐมวลเบาคิวคอน ความหนา 7.5 ซม. รวมฉาบ กันเสียงได้ 37dB (ผลทดสอบจาก ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
อิฐมวลเบาคิวคอน ความหนา 10 ซม. รวมฉาบ กันเสียงได้ 43dB (ผลทดสอบจาก Acoustics Labboratory, National University, SG)
เรื่องที่6
อิฐมวลเบาต้องใช้วิธีการก่อเฉพาะ
ความจริง
การก่อผนังอิฐมวลเบามีความรวดเร็วกว่าอิฐมอญ 3 เท่า
เนื่องจากมีขนาดใหญ่กว่า .
เรื่องที่7
การก่อด้วยผนังอิฐมวลเบามีราคาแพง
ความจริง
ต้นทุนโดยรวมถูกกว่าอิฐมอญ ในเรื่อง
1) ความรวดเร็วในการทำงาน
2) ประหยัดเสา คาน เอ็นคสล.
เป็นยังไงบ้างครับกับเรื่องเข้าใจผิดเกี่ยวกับอิฐมวลเบามีข้อไหนที่เข้าใจผิดกันบ้างไหมครับ ในการเลือกวัสดุก่อสร้างถือเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นเราควรที่จะศึกษาวัสดุต่างๆ อย่างถ่องแท้ ไม่ควรตัดสินจากข่าวลือหรือความรู้สึกนะครับ